วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่6
   วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
          อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิน
          วัน/เดือน/ปี 22 กันยายน  2557    ครั้งที่ 6
           เวลาเรียน 11.30 น. เวลาเลิกเรียน 14.00 น.




ประเมินตนเอง
- แต่งกายเรียบร้อย เข้าห้องเรียนตรงเวลา

ประเมินเพื่อน
- แต่งกายเรียบร้อย มีการจดบันทึกในขณะที่อาจารย์สอน

ประเมินอาจารย์
- อาจารย์แต่งกายเรียบร้อยพูดจาไพเราะอ่นโยน มีการเตรียมหาการสอนมาเป็นอย่างดี เข้าใจง่ายเพราะอาจารย์ยกตัวอย่างจนเห็นถาพ

บันทึกอนุทิน ครั้งที่5
   วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
          อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิน
          วัน/เดือน/ปี 15 กันยายน 2557    ครั้งที่ 5
           เวลาเรียน 11.30 น. เวลาเลิกเรียน 14.00 น.




ประเมินตนเอง
- แต่งกายเรียบร้อย ฟังอาจารย์สอน

ประเมินเพื่อน
- เพื่อนเข้าเรียนตรงเวลาและจดบันทึกเนื้อหาความรู้ที่อ.สอนลงในสมุด

ประเมินอาจารย์
- อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา มีการเตรียมการสอนมาเป็นอย่างดี



วันศุกร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่4
   วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
          อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิน
          วัน/เดือน/ปี 8 กันยายน 2557    ครั้งที่ 4
           เวลาเรียน 11.30 น. เวลาเลิกเรียน 14.00 น.


กิจกรรมวันนี้นำเสนอ power point ของแต่ล่ะกลุ่มที่จัดเตรียมมานำเสนอเกี่ยวกับเด็กพิเศษ
กลุ่มที่ 1. ซี พี (C.P.)
             ย่อมาจาก (Cerebral Palsy) คือสมองพการ ไม่ใช่เป็นโรคเฉพาะ แต่เป็นคำรวมของกลุ่มอาการของผู้ป่วยเด็กที่มีความพิการอย่างถาวรของสมอง ความพิการนี้จะคงที่และไม่ลุกลามต่อไป ซึ่งมีผลให้การประสานงานของการทำงานของกล้ามเนื้อบกพร่อง ส่งผลให้ร่างกายมีการเคลื่อนไหวและการทรงท่าที่ผิดปกติ เช่น การเกร็งของใบหน้า ลิ้น ลำตัว แขน ขา การทรงตัว การทรงท่าในขณะนั่ง ยืน เดิน ผิดปกติหรืออาจเดินไม่ได้. นอกจากนี้ อาจมีความผิดปกติในการทำงานของสมองด้านอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น มีความบกพร่องในการมองเห็น ได้ยิน การรับรู้ การเรียนรู้ สติปัญญา  และโรคลมชัก เป็นต้น


กลุ่มที่ 2. แอลดี( LD)  
           ความบกพร่องของกระบวนการเรียนรู้ ที่เกิดจากการทำงานที่ผิดปกติของสมอง ทำให้ความสัมฤทธิ์ผลด้านการเรียนต่ำกว่าความเป็นจริง ความบกพร่องนี้อาจเกิดขึ้นเฉพาะความสามารถด้าน ใดด้านหนึ่ง เช่น การอ่าน การเขียน การสะกดคำ การคำนวณ หรือหลายๆด้านร่วมกัน พบบ่อย ประมาณว่า 1 ใน 10 ของเด็กทั่วไปมีปัญหาการเรียนจนต้องได้รับการศึกษาพิเศษและเกือบครึ่งหนึ่งของเด็กจำนวนนี้มี LD การศึกษาของเด็กในวัยเรียนพบว่าร้อยละ 6-10 จะมี  LD เด็กชายจะมีปัญหาได้บ่อยกว่าเด็กหญิงในอัตราส่วน 4:1


กลุ่มที่ 3. ออทิสซึม 
            เป็นภาวะที่เกิดจากสมองมีพัฒนาการที่ผิดแปลกออกไปจากเด็กทั่วไป โดยเป็นภาวะที่ครอบคลุมพัฒนาการหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะ (1) ด้านการสื่อสารและการใช้ภาษา (2) การเข้าสังคมและสร้างสัมพันธ์กับผู้อื่น (3) พฤติกรรมและหรือความสนใจ โดยเด็กแต่ละคนจะมีลักษณะและอาการของภาวะออทิสซึมมากน้อยแตกต่างกันไป และอาจเปลี่ยนไปได้เมื่อเด็กโตขึ้น หรือเมื่อสมองมีการพัฒนาหรือเปลี่ยนแปลง

กลุ่มที่ 4 สมาธิสั้น 
            สาเหตุที่แท้จริงยังไม่ใครทราบว่าเกิดจากอะไร จากการศึกษาการทำงานของสมองของคนเป็นโรคสมาธิสั้นพบว่าสมองบางส่วนมีการทำงานน้อยกว่าปกติ และยังพบอีกว่าแม่ที่สูบบุหรี่ ดื่มสุราหรือใช้ยาเสพติดระหว่างตั้งครรภ์ อาจจะมีผลทำให้สมองเด็กมีปัญหาในการพัฒนา นอกจากนั้นยังพบว่าสารตะกั่วในสิ่งแวดล้อมก็น่าจะมีส่วนทำให้เกิดโรคนี้


กลุ่มที่ 5 เด็กปัญญาเลิศ  
            ความฉลาดหลักแหลมนั้นไม่ได้อยู่ที่ลักษณะนิสัยใดลักษณะนิสัยหนึ่ง และไม่ได้อยู่ที่ลักษณะนิสัยหลายลักษณะนิสัยรวมกัน แต่อยู่ที่ระดับความเข้มข้นและส่วนผสมรวมกันของลักษณะนิสัยพิเศษบางอย่าง เป็นว่าเด็กส่วนมากมีความอยากรู้อยากเห็นโดยธรรมชาติ ลักษณะนิสัยอยากรู้อยากเห็นนี้ในตัวของมันเองมิได้เป็นความฉลาดหลักแหลม แต่ถ้าความอยากรู้อยากเห็นนี้มีระดับเข้มข้นสูงมาก และเมื่อผสมผสานกับลักษณะนิสัยอื่นๆ เช่น ความเป็นเด็กเจ้าคิด ความวิริยะ ความพากเพียร และมีความุ่งมั่นผลักดันที่จะทำงานให้สมบูรณ์ไม่มีที่ติ ทั้งหมดนี้เป็นลักษณะความฉลาดหลักแหลมโดยแท้ ต่อไปนี้จะเป็นลักษณะนิสัยต่างๆ ที่ปรากฏบ่อยๆ ในตัวเด็กที่มีปัญญาหลักแหลม

กลุ่มที่ 6. ดาวน์ซินโดรม 
             เป็นโรคทางพันธุกรรมซึ่งมีสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการที่โครโมโซมคู่ที่ 21 เกิดความผิดปกติ ซึ่งในคนปกตินั้นจะมีโครโมโซมคู่ที่ 21 เพียง 2 แท่ง แต่ในกลุ่มผู้มีอาการดาวน์ซินโดรมนั้นจะมี 3 แท่ง หรือบางรายอาจจะมีอาการมาจากการย้ายที่ของโครโมโซมคู่ที่ 14 มายึดติดกับโครโมโซมคู่ที่ 21 เป็นต้น นอกจากนี้ยังอาจจะมีสาเหตุมาจากการมีโครโมโซมแท่งที่ 46 และ 47 ในคน ๆ เดียว โดยกรณีจะเรียกว่า MOSAIC แต่ก็เป็นกรณีที่พบได้น้อยมาก ทั้งนี้ ผู้ที่เป็นโรคดาวน์ซินโดรมส่วนใหญ่นั้นมักจะเกิดจากพ่อแม่ที่มีความผิดปกติ










ประเมินตัวเอง 
- ตั้งใจฟังอาจารย์ แต่งกายเรียบร้อย

ประเมินเพื่อน
- ตั้งใจฟังอาจารย์ แต่งกายเรียบร้อย

ประเมินอาจารย์
- อาจารย์อธิบายได้อย่างเข้าใจ

บันทึกอนุทิน ครั้งที่3 
   วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
          อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิน
          วัน/เดือน/ปี 1 กันยายน   2557    ครั้งที่ 3
           เวลาเรียน 11.30 น. เวลาเลิกเรียน 14.00 น.






การประเมินที่ใช้ในเวชปฎิบัติ


การนำความรู้ไปประยุกต์
- ทำให้รู้ถึงสติปัญญาเด็กเบื้องต้น

ประเมินตนเอง
- แต่งกายเรียบร้อย เข้าใจเนื้อหารายวิชา

ประเมินเพื่อน
- แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์

ประเมินอาจารย์
- แต่งกายเรียบร้อย อธิบายรายวิชาได้อย่างเข้าใจ

บันทึกอนุทิน ครั้งที่2
   วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
          อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิน
          วัน/เดือน/ปี 25 สิงหาคม  2557    ครั้งที่ 2
           เวลาเรียน 11.30 น. เวลาเลิกเรียน 14.00 น.


กิจกรรมในวันนี้ (อิเล็กทรอนิคไม่เอื้อต่อการเรียน )
อาจารย์เลยพูดคราวๆๆเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ มีอยู่2ทางคือ
 1. ทางการแพทย์
 2. ทางการศึกษา
เด็กพิเศษ หมายถึง เด็กที่ไม่อาจพัฒนาความสามารถได้ช้าเด็กแต่ละบุคคลไม่เหมือนกันการสอนนั้นต้องเป็นรายบุคคล

พฤติกรรมและพัฒนาการของเด็กพิเศษ
- เด็กที่ปกพร่องทางพัฒนาการ เป็นเด็กที่มีพัฒนาการช้ากว่าเด็กปกติวัยเดียวกัน
- ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก ด้านชีวภาพ สภาพแวดล้อมก่อนคลอด กระบวนการคลอด สภาพแวดล้อมหลังคลอด








การนำความรู้ไปประยุกต์
- มีวิธีการดูแลเด็กพิเศษได้รู้ถึงพัฒนาการเด็ก ทำให้เราได้รู้ถึงวิธีการพัฒนาการของเด็ก


การประเมินตนเอง
- แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์

ประเมินเพื่อน
- เพื่อนแต่งกายเรียบร้อย

ประเมินอาจารย์ผู้สอน
- อาจารย์อธิบายได้เข้าใจในรายวิชา



วันศุกร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่1 
   วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
          อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิน
          วัน/เดือน/ปี  25 สิงหาคม  2557    ครั้งที่ 2
           เวลาเรียน 11.30 น. เวลาเลิกเรียน 14.00 น.


กิจกกรมในวันนี้
วันนี้อาจารย์เอกสารเกี่ยวกับแนวการสอนและอธิบายเกี่ยวกับรายวิชานี้ และถามนักศึกษาว่าใครคนไหนเคยอยู่ใกล้หรือมีญาติเป็นเด็กพิเศษบ้าง


     ประเภทของเด็ก                                                                                             
    1.ซีพี                                                                                               
    2.ดาวน์ซินโดรม                                                                              
    3.ออทิสติก                                                                                     
    4.สมาธิสั้น
    5.แอลดี
    6.ปัญญาเลิศ   


และแบ่งกลุ่ม 8-9 คน ในการทำmappingตามความเข้าใจของเรา

การประยุกต์ใช้
- สามารถส่งเสริมและแก้ไขปัญหาของเด็ฏพิเศษได้
-สามารถนำความรู็ไปอบรมเลี้ยงดูเด็กพิเศษได้

ประเมินตนเอง
-แต่งตัวเรียบร้อย
-เข้าใจเนื้อหาในวิชาเรียนสามมารถที่จะอธิบายได้

ประเมินเพื่อน
-เพื่อนแต่งตัวเรียบร้อย
-นำเสนองานดี

ประเมินอาจารย์ผู้สอน
-อาจารย์อธินบายนื้อหาและยกตัวอย่างได้อย่างเข้าใจดี